กลไกการออกฤทธิ์ของสมุนไพรคาวตองประกอบด้วย
1. ต้านอนุมูลอิสระ – เนื่องจากสมุนไพรคาวตองมีสารต้านอนุมูลอิสระจำนวนมาก
จึงช่วยลดอนุมูลอิสระที่มีความเป็นพิษสูงไม่ให้สร้างความเสียหายแก่เนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้
สำหรับฮอร์โมน เอ็นไซม์ น้ำมันหอมระเหยหรือสารชีวเคมีต่างๆ ที่มีบทบาทสำคัญในการออกฤทธิ์จะยังคงอยู่ในสมุนไพรคาวตอง
เนื่องการอบสมุนไพรไม่ผ่านความร้อนสูง
2.กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน – ประสบการณ์ภาคสนามที่ได้จากผู้ใช้สมุนไพรคาวตองสูตรตำรับนี้พบว่า
สารเบต้ากลูแคนจากคาวตองยังที่มีคุณสมบัติในการกระตุ้นไขกระดูกให้ผลิตสะเต็มเซลล์มากขึ้น
สะเต็มเซลล์มีคุณสมบัติในการซ่อมแซมอวัยวะที่สึกหรอต่างๆได้ หรือเปลี่ยนไปเป็นเซลล์นักฆ่า(Natural Killer Cell)
ที่สามารถกำจัดเซลล์มะเร็ง เนื้องอกและไวรัสต่างๆได้ดี นอกจากนี้สะเต็มเซลล์ที่เกิดขึ้น
ยังไปเหนี่ยวนำเซลล์ปกติของร่างกายให้ถอยวัยลงได้ ทำให้ร่ายกายถอยวัยลง
3.ปรับสมดุลของร่างกาย – สารสำคัญหลายตัวในสมุนไพรคาวตอง เช่นเบต้ากลูแคน
มีคุณสมบัติในการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างสเต็มเซลล์ ทำให้การทำงานของเซลล์
ที่ประกอบเป็นอวัยวะต่างๆ ในร่างกายเช่นต่อมไร้ท่อ ต่อมไธรอยด์ เซลล์ผนังหลอดเลือด
เซลล์ที่เป็นโครงสร้างของหูรูดที่ทวารหนัก ท่อปัสสาวะ และหูรูดที่กั้นระหว่างท่ออาหาร
และกระเพราะอาหารให้ทำงานเป็นปกติ หรือทำให้โรคที่เกิดจากการผลิตฮอร์โมนเพศชาย
เพศหญิงกลับมาปกติ ซึ่งเป็นการช่วยปรับระบบความสมดุลของร่างกาย
เบต้ากลูแคนยังไปช่วยให้สเต็มเซลล์ประจำถิ่น (เนื้อเยื่อหรือเซลล์ที่เสียหาย)
ให้เพิ่มจำนวนและไปฟื้นฟูเซลล์และเนื้อเยื่อที่เสียหายให้กลับเป็นปกติได้
นอกจากนี้สารสกัดคาวตองยังอาจไปช่วยให้สภาวะแวดล้อมในบริเวณที่ออกฤทธิ์ (Stem Cell Niche)
ให้เหมาะสมขึ้น จึงทำให้ผลที่เกิดขึ้นจากการกินคาวตองสกัดโดดเด่นมากกว่าปกติด้วย
นอกจากนี้ คาวตอง ยังใช้ได้ดีกับโรคติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อไวรัสเช่น HIV เริม งูสวัด ตับอักเสบ A,B,C และโรคเสื่อมอื่นๆได้ดีเช่น อัมพฤกษ์ อัมพาต ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ ปวดขา ปวดหลัง ปวดจากหมอนรองกระดูกเสื่อม กระดูกทับเส้น กระดูกพรุน ภูมิแพ้ หอบหืด สายตาเสื่อม ไซนัสจมูกอักเสบ เลือดจาง ไมเกรน โรคไต รูมาตอยด์ เส้นเลือดในสมองตีบ วัณโรคปอด ติดเชื้อไวรัส-แบคทีเรีย-เชื้อรา โรควัยทอง และยังช่วยเสริมการชลอวัย ทำให้ถอยวัยผิวหนังสดใสมีน้ำมีนวล ฯลฯ
ขนาดที่แนะนำให้กิน : ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าและก่อนนอน
(Disclaimer: บทความทั้งหมดข้างต้น เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน เว้นเสียแต่จะเขียนเป็นอย่างอื่นไว้
ข้อมูลดังกล่าวนี้ ไม่ได้มุ่งหวังให้ใช้แทนที่คำแนะนำแพทย์เจ้าของไข้หรือให้ใช้เป็นคำแนะนำทางการแพทย์
แต่ต้องการแบ่งปันข้อมูลและความรู้ที่ได้จากงานวิจัยและประสบการณ์ของผู้เขียนและทีมงานเท่านั้น
โดย มุ่งหวังอย่างเต็มที่ๆจะให้ท่านได้ตัดสินใจในการดูแลสุขภาพจากการวิเคราะห์และปรึกษาแพทย์ประจำตัวของท่านเอง)