Pakinsan3โรค พาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อย เป็นอันดับที่ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์ สถิติผู้ป่วยเป็นโรคพาร์กินสันทั่วโลกอยู่ที่ประมาณร้อยละ 1 ในผู้ที่อายุเกิน 65 ปี สำหรับในประเทศไทยมีการเก็บรวบรวมสถิติการเกิดโรค จากสภากาชาดไทยพบว่าอุบัติการณ์การเกิดโรคพาร์กินสันอยู่ที่ 425 คน ต่อประชากร 100,000 คน ซึ่งพบมากในประชากรแถบภาคกลางของประเทศ คนไทยสมัยโบราณรู้จักโรคพาร์กินสันมานานแล้วในนามของ ‘โรคสันนิบาตลูกนก’  เพื่อ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าวให้มากขึ้นแพทย์หญิงอรพร สิทธิ์บูรณะ ผู้เชี่ยวชาญโรคการเคลื่อนไหวผิดปกติศูนย์ประสาทวิทยา โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้กล่าวว่า
ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันมีอาการที่พบได้บ่อย ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวช้า อาการสั่นของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในท่าพักแต่ดีขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหว และอาการเกร็ง ซึ่งสัมพันธ์กับเซลล์สมองที่ถูกทำลายไปแล้วอย่างน้อยร้อยละ 60 ความผิดปกติที่เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวเนื่องจากโรคพาร์กินสันเป็นผลจากการ ตายของเซลล์สมองส่วนก้านสมองส่วนกลางในส่วนสับสแตนเชียไนกราซึ่งมีผลทำให้ สารสื่อประสาทโดพามีนซึ่งควบคุมการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องของร่างกายลดลง การ ตายของเซลล์สมองในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันได้มีการดำเนินมาแล้วอย่างน้อย 4-10 ปี ก่อนที่ผู้ป่วยจะเริ่มมีความผิดปกติทางการเคลื่อนไหวในระยะเริ่มแรกผู้ป่วย ส่วนใหญ่ที่มาพบแพทย์อาจสังเกตว่ามีการเคลื่อนไหวช้าลง เดินลากขา ไม่แกว่งแขน ตัวแข็งเกร็ง พูดเสียงเบาและช้าลง เขียนหนังสือตัวเล็กลงกว่าเดิม เป็นต้น บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เป็นโรคพาร์กินสัน ได้แก่ สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2มูฮัมหมัด อาลี โจเซฟ สตาลินพล พต และยัสเซอร์ อาราฟัต
         Kradooktabsent2   จากหลักฐานงานวิจัยหลายชิ้นจากต่างประเทศยืนยันว่าการดูแลผู้ป่วยโรคพาร์กิน สันตั้งแต่เริ่มต้นทั้งในแง่การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติและอาการอื่น ๆ ที่ร่วมด้วยดังที่กล่าวแล้วข้างต้น ด้วยการปรับยา การแนะนำเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม สามารถทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจดีกว่าผู้ที่ ไม่ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง ยาพาร์กินสันที่ใช้บ่อย ๆ ในทางคลินิก ได้แก่ ยาที่เป็นสารตั้งต้นของสารโดพามีนยาที่ออกฤทธิ์ที่ตัวรับโดพามีน  หรือยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ที่ทำลายสารโดพามีนในสมอง ในปัจจุบันการรักษาโรคพาร์กินสันยังเป็นการรักษาผู้ป่วยเพื่อประคับประคอง อาการไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ในอนาคต การศึกษาจะเน้นไปที่การคัดกรองผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่เริ่มมีความผิดปกติใน สมองแต่ยังไม่เริ่มมีอาการของการเคลื่อนไหวผิดปกติ ด้วยความหวังที่จะใช้ยาใหม่หรือวิธีการที่จะชะลอการดำเนินของโรคจนถึงการ รักษาโรคให้หายขาด มีการศึกษาอื่น ๆ ซึ่งยังอยู่ในระหว่างการวิจัยเช่น การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด (stem cell therapy)  และพันธุกรรมบำบัด (gene therapy) ด้วยการให้ไวรัสซึ่งเป็นตัวพายีนส์ที่สร้างโปรตีนนิวโรโทรปิกแฟกเตอร์ที่จะส่งเสริมเซลล์สมองให้เติบโต และคงอยู่ได้ซึ่งเป็นความหวังในการรักษาผู้ป่วยต่อไป

ตาม ทฤษฎี สะเต็มเซลล์จากไขกระดูกมีความสามารถที่จะเคลื่อนย้ายไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ หัวใจหรืออวัยวะทุกแห่งที่เกิดอักเสบหรือความเสียหายได้ มีการทดลองในต่างประเทศที่ให้สัตว์ทดลองกินสาร Sulfated glucanหรือ เบต้ากลูแคนจากผนังเซลล์ยีสต์ในรูปแบบโครงสร้างโมเลกุลที่แตกต่างกันไปหลาก หลายรูปแบบ เพื่อไปกระตุ้นไขกระดูกให้ผลิตสะเต็มเซลล์มากขึ้น เซลล์ที่อักเสบจะปลดปล่อยโมเลกุลพิเศษ ที่เป็นเหมือนการส่งสัญญานเรียกสะเต็มเซลล์ที่ไหลเวียนในกระแสเลือดให้มา เกาะและซ่อมแซมเซลล์หรือเยื่อบุที่เสียหาย หากเกิดความเสียหายน้อยสะเต็มเซลล์ก็จะทำการซ่อมแซมทันไม่เกิดพยาธิสภาพ ซึ่งเป็นสิ่งที่ร่างกายทำทุกวันตลอดชีวิตของเรา แต่หากเกิดโรคหลอดเลือดอุดตันแสดงว่าร่างกายPakinsan2หรือระบบการซ่อมแซมจากสะเต็ม เซลล์ทำการซ่อมแซมไม่ทันหรือจำนวนสะเต็มเซลล์ในกระแสเลือดมีปริมาณน้อยเกิน ไป ดังนั้นเมื่อมองในมุมกลับ หากเราให้คนที่เป็นโรคเส้นเลือดหัวใจอุดตันได้กินสารที่มีคุณสมบัติกระตุ้น ไขกระดูกให้ผลิตสะเต็มเซลล์ได้มากขึ้นเช่น G-CSF หรือ เบต้ากลูแคน ที่มีอยู่ในสูตรตำรับของคาวตองของผม ไขกระดูกก็จะผลิตสะเต็มเซลล์มากขึ้น ออกมาไหลเวียนในกระแสเลือดมากขึ้น สะเต็มเซลล์จำนวนมากก็จะไปเกาะเซลล์สมอง ดังนั้นการที่ผู้ป่วยด้วยโรคพาร์กินสัน หลายรายที่ดื่มกินสมุนไพรคาวตองที่มีคุณสมบัติกระตุ้นสะเต็มเซลล์แล้วมีการ พัฒนาการของโรคที่ดีขึ้นได้นั้น น่าจะเป็นผลมาจากการที่เซลล์สมองที่เสียหายหรือไม่ทำหน้าที่สามารถกลับมา เป็นปกติและทำหน้าที่ได้เหมือนเดิมคือสามารถผลิตโดปามีนได้เหมือนเดิมอีก ครั้งหนึ่ง ไม่เหมือนกับการกินยารักษาพาร์กินสันเช่น เลโวโดปา ที่เป็นยาช่วยสร้างโดปามีนที่การกินเข้าไปไม่สามารถควบคุมระดับสารโดปามีนใน เลือดให้อยู่ในระดับที่พอดีแบบนาทีต่อนาทีได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ยาก็ยังเข้าสู่สมองได้ไม่เกิน 5-10% เท่า นั้นเอง ส่วนกลยุทธในการรักษาด้วยคาวตองตำรับนี้จะทำให้ร่างกายผลิตสารสื่อประสาท เช่นโดปามีนหรือสารชีวเคมีอื่นๆที่เรายังไม่รู้จักอีกมากมายขึ้นมาตาม หน้าที่ของเซลล์สมองที่ทำงานอย่างเป็นปกติของเราเองตลอดเวลา

หมายเหตุ : ข้อมูลที่เขียนในบทความเป็นความเห็นและประสบการณ์เฉพาะของผู้เขียน การนำเอาไปใช้เองต้องผ่านการพิจารณาโดยรอบคอบจากตัวท่านเองและผู้เชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวข้องก่อนเสมอภก.อุดม รินคำ

กรณีศึกษา

1. คุณเริ่ม ศรีชัย 80 ปี เป็นพาร์กินสัน มาประมาณ 10 ปี มือสั่นจนทำอะไรไม่ได้ กินข้าวกับเพื่อนก็ไม่ได้  ไปไหว้พระก็ไม่ได้ เคยไปวัดแล้วเด็กทำท่าล้อเลียน เหมือนปลุกพระจึงไม่ไปวัดอีกเพราะคิดว่าไม่ได้มาสอนเด็กทำอย่างนี้จะเป็นบาป คิดว่าหากไม่หายก็จะไม่ไปวัดอีก การรักษาใช้ยารักษาแบบพื้นบ้าน ได้ไปซื้อคาวตองแบบน้ำของผมมากิน เพราะต่อมลูกหมากโต แต่ขณะที่ต่อมลูกหมากลดขนาดเล็กลง เมื่อกินไป2-3 ขวด อาการมือสั่นดีขึ้น โดยไม่มีอาการกระทุ้งเลย พอดื่มไป 9 ขวด อาการมือสั่นก็หายไปทั้งหมด ผู้ป่วยพาร์กินสันรายนี้ นับเป็นหนึ่งในผุ้ป่วยพาร์กินสันที่ดีขึ้นจากสมุนไพรคาวตอง ซึ่งผมคิดว่า ข้อมูลดิบดีๆที่เกิดขึ้นในภาคสนามของผม ในอนาคตก็จะเป็นประโยชน์มหาศาลต่อวงการแพทย์ครับ

Pin It